หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา
[[ แก้ไขข้อมูลส่วนตัว ]]
ชื่อ-สกุล : ดร.บรรพต แคไธสง
ตำแหน่ง : อาจารย์ประจำและรับผิดชอบหลักสูตร
วุฒิการศึกษา : ปริญญาเอก
วิชาเอก : Philosophy
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๖๕-๑๐๘๔๗๔๖
อีเมล์ : [email protected]
ประวัติการศึกษา
ปีการศึกษาที่จบ ระดับการศึกษา/วุฒิที่ได้รับ ชื่อสถานศึกษา / สาขา
2542 เปรียญธรรม ๗ ประโยค สำนักเรียน วัดอินทาราม
2543 ปริญญาตรี คณะพุทธศาสตร์ สาขาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
2547 ปริญญาโท คณะปรัชญา สาขาปรัชญา - M.A.(Philosophy) มหาวิทยาลัยมัทราส (University of Madras, India)
2537 นักธรรมชั้นเอก สำนักเรียนวัดอินทาราม
2553 ปริญญาเอก คณะปรัชญา สาขาปรัชญา-Ph.D.(Philosophy) มหาวิทยาลัยมัทราส (University of Madras, India)
ประวัติการทำงาน
ปี พ.ศ. สถานที่ทำงาน ตำแหน่ง
บริษัท พีจีเอ็ม เรคคอร์ค จำกัด เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารงานบุคคล
2553-2555 มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี อาจารย์
2556-2559 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย อาจารย์
2559-ปัจจุบัน วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อาจารย์ประจำและรับผิดชอบหลักสูตร
ผลงาน
ลำดับ ผลงาน
1 Existence and Enlightenment : A Study of Metaphysics and Ethics in Abhdhamma and Nikayas of Theravada Buddhism
2 กำเนิดและพัฒนาการของแนวคิดทางศาสนาแบบสมณะและพราหมณะในอินเดีย (The Origin and Development of Religious Concepts as Samanas and Brahmins in India)
3 การรื้อสร้างศาสนาพราหมณ์ของพระพุทธเจ้าและการรื้อสร้างศาสนายูดายของพระเยซู
4 พัฒนาการพระพุทธศาสนาไทยในสังคมเกษตรกรรม
5 อิทธิพลของพระพุทธศาสนานิกายมหายานต่ออารยธรรมขอมในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
6 An Analytical Study of Buddhadasa Bhikkhu's Dhammic Socialism
7 The Concept of Man in Theravada Buddhism
8 The Middle Path as the Fundamental Concept in Morality of Buddhism
9 วรรณคดีบาลี
10 จริยธรรมกับชีวิต
11 The Law of Karma : The Foundation of Ethical Doctrine in Buddhism
12 The Solution of Problem in Society by Buddha-Dharma
13 Existence and Enlightenment in Theravada Buddhism
14 Lingual Wisdom of Buddhadasa Bhikkhu : Human Language and Dharma Language
15 หลักจริยศาสตร์ที่ปรากฏในคำสอนและการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต